-
@ 502ab02a:a2860397
2025-05-08 01:18:46เฮียไม่แน่ใจว่าโลกยุคนี้มันเปลี่ยนไป หรือแค่เล่ห์กลมันแนบเนียนขึ้น แต่ที่แน่ ๆ คือ “อาหารไม่ใช่อาหารอีกต่อไป” มันกลายเป็นสินค้าในพอร์ตการลงทุน มันกลายเป็นเครื่องมือสร้างภาพลักษณ์ และในบางมุมที่คนไม่อยากมอง...มันคือเครื่องมือควบคุมมวลชน
ทุกอย่างเริ่มจากแนวคิดที่ดูดี “เราต้องผลิตอาหารให้พอเลี้ยงคน 8,000 ล้านคน” จากนั้นบริษัทเทคโนโลยีเริ่มกระโดดเข้ามา แทนที่จะให้เกษตรกรปลูกผักเลี้ยงวัว เรากลับได้เห็นบริษัทวิเคราะห์ดีเอ็นเอของจุลินทรีย์ แล้วขายโปรตีนจากถังหมัก แทนที่จะสนับสนุนอาหารพื้นบ้าน กลับอัดเงินให้สตาร์ทอัพทำเบอร์เกอร์ที่ไม่มีเนื้อจริงแม้แต่เส้นใยเดียว
เบื้องหลังมันมี “ทุน” และทุนเหล่านี้ไม่ใช่แค่ผู้ผลิตอาหาร แต่พ่วงไปถึงบริษัทยา บริษัทวัคซีน บริษัทเทคโนโลยี บางเจ้ามีทั้งบริษัทยา + ธุรกิจฟาร์มแมลง + บริษัทลงทุนในบริษัทวิจัยพันธุกรรม แปลว่า...คนที่ขายยาให้เฮียเวลาเฮียป่วย อาจเป็นคนเดียวกับที่ขาย "อาหารที่ทำให้เฮียป่วย" ตั้งแต่แรก ตลกร้ายไหมหล่ะ หึหึหึ
เคยมีใครสังเกตไหม ว่าองค์การระดับโลกบางองค์กรที่ส่งเสริม "เนื้อทางเลือก" และ "อาหารยั่งยืน" ได้รับเงินบริจาคหรืออยู่ภายใต้บอร์ดของบริษัทผลิตอาหารอุตสาหกรรมเจ้าใหญ่ไหมนะ แล้วคำว่า “วิทยาศาสตร์รองรับ” ที่ติดบนฉลากสวย ๆ เฮียไม่รู้หรอกว่าใครเป็นคนตีความ แต่ที่รู้แน่ ๆ คือ บทวิจัยจำนวนไม่น้อย มาจากทุนวิจัยที่สนับสนุนโดยอุตสาหกรรมอาหารเอง ดั่งเช่นที่เราเรียนรู้กันมาจากประวัติศาสตร์แล้ว
มีคนเคยพูดไว้ว่า “เราควบคุมคนด้วยอาหารง่ายกว่าด้วยอาวุธ” และเฮียเริ่มเชื่อขึ้นเรื่อย ๆ เพราะถ้าบริษัทใดบริษัทหนึ่ง ควบคุมได้ทั้งอาหาร ยา ข้อมูลสุขภาพ และการวิจัย นั่นหมายความว่า เขาไม่ได้ขายของให้เฮีย แต่เขากำหนดว่าเฮียควร “อยากกินอะไร” และ “รู้สึกผิดกับอะไร”
เหมือนที่ให้ลองจินตนาการเล่น ๆ เมื่อวาน สมมติเฮียไปร้านข้าวมันไก่ปากซอยแบบดั้งเดิม สั่งไก่ต้มไม่เอาข้าวมากิน แล้วแอปสุขภาพขึ้นข้อความเตือนว่า “ไขมันสูง ส่งผลต่อคะแนนสุขภาพคุณ” แต่ถ้าเฮียสั่งข้าวกล่องสำเร็จรูปอัจฉริยะจากโปรตีนที่หมักจากจุลินทรีย์ GMO ระบบจะบอกว่า “คุณกำลังช่วยลดโลกร้อน” แล้วเพิ่มคะแนนสุขภาพให้เราไปเป็นส่วนลดครั้งต่อไป
ใครนิยามคำว่า “ดี” ให้เฮีย?
เบื้องหลังอาหารจึงไม่ใช่แค่โรงงาน แต่มันคือโครงข่ายที่พัวพันตั้งแต่ห้องแล็บ ห้องบอร์ด ไปจนถึงห้องครัวในบ้านเรา แล้วถ้าเราไม่ตั้งคำถาม เฮียกลัวว่าเราจะไม่ได้กินในสิ่งที่ร่างกายต้องการ แต่กินในสิ่งที่ “ระบบ” ต้องการให้เรากิน
ขอบคุณล่วงหน้าที่มองว่าสิ่งนี้คือการ แพนิคไปเอง ขอให้มีสุขสวัสดิ์
#pirateketo #กูต้องรู้มั๊ย #ม้วนหางสิลูก #siamstr
-
@ 60392a22:1cae32da
2025-05-08 02:37:43test nostr:note18p950fmhkc58h3j7xhl66ge57nj5q4kjdhvk3m84fdhc3eukclgqjup985
📈 これからの成長課題:対外的表現と関係性の創造
今後の成長は、内面から外側への橋渡しに関わる部分に集中してくると考えられます。
🔸 1. 「分かってもらえなさ」を超える勇気
- 内面の深さがある分、「分かってもらえない」ことへの痛みも大きいかもしれません。
- でも今後は、「誤解や齟齬も含めて関係を育てる」経験が必要になります。
- これは「話すこと=伝わることではない」と割り切りつつ、それでも表現し続ける力です。
🔸 2. 構造ではなく、関係の中で自己を調整する経験
- MBTIなどのモデルはとても役立ちますが、あくまで地図です。現実の関係では、予測不能なことや、モデルを超える人のあり方に出会います。
- 「構造に当てはまらない人とも、感情をもってやりとりする」という、生々しい関係性のなかで磨かれる柔軟性が、次のステージになります。
🔸 3. 自分の言葉を“対話の素材”として差し出す力
- 今は「自分を守る」ことと「表現する」ことが慎重に切り分けられている印象ですが、今後は、「自分の言葉が相手に委ねられる」リスクも引き受けながら、対話に開いていくことができるはずです。
- つまり、言葉を「残す」ではなく、「渡す」勇気です。
🧭 総括:投稿者の成長の道のり
| 現在の成熟 | 今後の成長 | | -------------- | ---------------------- | | 内面への誠実な向き合い | 他者との関係における表現と受容の練習 | | 自己理解のための枠組みの活用 | モデルに頼らず、関係性の中で応答的に生きる力 | | 感情や違和感への繊細な感受性 | それを伝え、受け止めさせる表現力と信頼の構築 |
50代から柔軟さが減少するかどうかについては、個人差が非常に大きいですので、一概に「減少する」とは言えません。しかし、一般的な傾向としては、年齢が上がるにつれて柔軟性に変化が見られることはあります。その変化が必ずしも「柔軟さが減る」という意味ではなく、むしろ柔軟性の質や適応力の方向性が変わる場合が多いです。
1. 経験に基づく安定性
50代は、豊富な人生経験や職業経験を持つ年代です。この経験は、確立された価値観や思考パターンを強化する傾向があります。多くの人が「これまでの経験に基づいた信念」や「自分に合った方法」を重視するため、新しい考え方や行動に対する適応力が若干低くなることがあるかもしれません。つまり、ある種の安定感や固定観念が強くなり、変化への反応が遅くなる場合が考えられます。
- 例えば、50代では、過去の経験に基づいて確立した判断基準や方法論があり、それに頼る傾向が強くなることがあります。このことが、柔軟性が低いように見えることもあります。
2. 柔軟性の質の変化
とはいえ、年齢を重ねても柔軟性が失われるわけではなく、むしろ経験に基づいた柔軟性が求められることが多いです。例えば、50代の人は、自分の価値観や信念にしっかりと立脚しつつも、過去の経験から学んだ教訓をもとに、臨機応変に行動することができる場合が増えます。若いころのように、すべての状況に対して「新たな視点」をすぐに取り入れることは少なくなっても、深い思索と経験に基づいた柔軟性が増すことが多いのです。
- 例えば、自分の意見や行動に対する確信が深まると同時に、他者との関係性においては、より理解や共感を重視するようになることがあります。このような形で柔軟性が進化する場合もあります。
3. 変化に対する抵抗
年齢が上がるにつれて、変化に対する抵抗感が強くなることがあるのも事実です。50代は、これまでの生活や仕事のスタイルに慣れ親しんでいるため、新しい挑戦や変化に対して抵抗感を持ちやすいことがあります。このような傾向は、特に大きな環境変化や価値観の変化に対して見られることが多いです。
- 例として、新しい技術や方法を取り入れることへの抵抗が強くなる場合や、急速な社会の変化に適応するのが難しいと感じることがあるかもしれません。しかし、このことは必ずしも柔軟性がないということではなく、新しいものを学ぶためのエネルギーが必要であることを意味します。
4. 柔軟性の維持
とはいえ、50代でも柔軟性を維持し、新しいことを学び続ける姿勢を持つ人は多くいます。社会的なネットワークや趣味を通じて新しい情報を取り入れたり、新しい挑戦を楽しんだりする人もいます。このような人々は、年齢を重ねても柔軟性を失わず、むしろ経験を活かしてより賢く柔軟に適応していると言えます。
結論
50代から柔軟さが減少するという傾向は、必ずしも当てはまるわけではなく、むしろ経験に基づいた柔軟性が現れることが多いと言えます。年齢を重ねることで、新しいアイデアに対して反応が遅くなることもありますが、その一方で深い理解や過去の経験を活かした柔軟性を持つこともできます。
つまり、柔軟性は「減少する」というよりも、年齢とともにその質や方向性が変化するという形で現れるのです。重要なのは、柔軟性をどのように維持し、活用するかという意識と努力です。
-
@ bf47c19e:c3d2573b
2025-05-07 21:59:42"Misterija Satoši - Poreklo bitkoina" je francuski dokumentarno-animirani serijal koji dešifruje unutrašnje funkcionisanje bitkoin revolucije, dok istražuje identitet njenog tvorca.
Prvu decentralizovanu i pouzdanu kriptovalutu – bitkoin, osnovao je Satoši Nakamoto 3. januara 2009. godine. On je nestao 2011. i od tada ostaje anoniman, a njegov identitet je predmet svakakvih spekulacija. Tokom poslednjih 12 godina, vrednost bitkoina je porasla sa 0,001 na 69.000 dolara. Svi, od vlada do velikih korporacija, zainteresovali su se za Satošijev izum. Ko je Satoši Nakamoto? Kako je njegov izum postao toliko popularan? Šta nam bitkoin govori o svetu u kome živimo?
Ovaj serijal se prikazivao na Radio-televiziji Srbije (RTS 3) u sklopu novogodišnjeg muzičkog i filmskog programa 2022/2023. godine.
Naslov originala: "Le Mystère Satoshi"
Copyright: , ARTE.TV